Environmental Toxicology

 

Curriculum:

 

The academic year is divided into 2 semesters, each of about 15 weeks. Summer sessions last about 6 weeks. Courses are arranged in modular form, allowing students to complete them within 1-10 weeks, depending on the nature of the course.

The MSc program will take 2-3 years to complete. The PhD program will take about 4 years to complete for a student with a BSc and 3-4 years to complete for a student with an MSc, though this depends on the individual student.

All students in both the MSc and PhD degree programs are required to complete five required courses as well as elective courses. The number of credits required for thesis research depends on the degree program and the student’s previous degree, as follows:

Doctor of Philosophy

 

Course Student’s Previous Degree(credits)
  Bachelor’s degree Master’s degree in Environmental Toxicology or related fields
Required Courses 10
Elective Courses (a minimum of) 14 12
Thesis 48 36
Total not less than 72 48
Master of Science

 

Course Student’s Previous Degree(credits)
  Bachelor’s degree Graduate Diploma in Environmental Toxicology
Required Courses 7 3
Elective Courses (a minimum of) 17 15
Thesis 12 12
Total not less than 36 27
Graduate Diploma

 

Course credits
Required Courses:  
-Basic Science 3
-Environmental Toxicology 9
Elective Courses (a minimum of) 12
Total not less than 24
Program Learning Outcomes (Plos)

 

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

 

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
PLO 1: เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ศึกษาผลกระทบด้านลบต่อระบบนิเวศและผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของสารเคมี ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสารที่มนุษย์สร้างขึ้น สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมได้ ทั้งในประเทศและประเทศภูมิภาค โดยนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้ในแนวทางที่เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ
Competency: Understanding, Verbal communication skill, Writing skill, Applying, Analyzing
Sub PLO 1: A1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพอนามัย
Competency: Understanding, Verbal communication skill, Writing skill, Analyzing
Sub PLO 1: A2 สามารถ สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหา
Competency: Understanding, Verbal communication skill, Writing skill, Analyzing
Sub PLO 1: A3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมกับศาสตร์อื่นได้
1. การสอนที่หลากหลายรูปแบบภายในชั้นเรียนเช่นการบรรยาย การยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริง และการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย
2. การค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่มตามหัวข้อที่เป็นปัจจุบันและผู้เรียนมีความสนใจ
3. การอภิปรายเป็นกลุ่มโดยนำเนื้อหาที่เรียนมาผสมผสานกับกรณีศึกษา (case study) และเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในแต่ละรายวิชา
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
5. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
6. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพึ่งตนเองได้ มีอิสระในการแสวงหาความรู้ โดยไม่ยึดติดกับการรับข้อมูลจากผู้สอนแต่เพียงอย่างเดียว แต่กระตุ้นให้นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์และตัดสินใจด้วยตนเองโดยการนำเสนอผลงาน การตอบข้อซักถามและแสดงความคิดเห็น
7. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้นักศึกษามีโอกาสค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล พร้อมการอ้างอิงแหล่งที่น่าเชื่อถือและทันสมัย เช่นหนังสือ และวารสารวิจัยทางวิชาการและสามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
8. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้สถิติเพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมในการแก้ปัญหาต่างๆ หรืองานที่ได้รับมอบหมาย 
1. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคปลายภาค และสอบย่อย
2. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงานที่ให้ค้นคว้า
3. ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนในห้องเรียน (การทวนสอบ)
4. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยวเช่น โครงการหรืองานวิจัยที่มอบหมาย
5. ประเมินจากโครงการการศึกษาวิจัย / วิทยานิพนธ์
6. ประเมินจากการตอบคำถาม และการมีส่วนร่วมในการซักถามในชั้นเรียน(class articipation) 
PLO 2: นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการทำวิจัยทางด้าน พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม
Competency: Understanding, responsibility, Verbal communication skill, Writing skill
Sub PLO 2: B1 สามารถค้นคว้า วางแผน และดำเนินงานวิจัย นำความรู้ทางด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมบูรณาการกับความรู้จากศาสตร์อื่นมาใช้ในการปฏิบัติงานวิจัยได้ด้วยตนเอง
Competency: Understanding, responsibility, Verbal communication skill, Writing skill
Sub PLO 2: B2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศในการสืบค้น เก็บรวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัย และนำเทคโนโลยีใหม่ๆ ขั้นสูง มาใช้ในการศึกษาวิจัยได้
Competency: Understanding, Applying, Analyzing, Evaluating, Creating
Sub PLO 2: B3 มีความรู้และความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับผลกระทบของสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพอนามัยซึ่งเพียงพอที่จะนำมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาแนวทาง หรือสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบดังกล่าวได้
1.จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทความทางการวิจัยด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นกรณีศึกษาสำหรับวิเคราะห์ วิจารณ์จุดอ่อน/จุดแข็งของการวางแผนดำเนินงานวิจัย
2.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการ เพื่อเรียนรู้เทคนิคการทำงานวิจัยและการแก้ปัญหา
3.มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเดี่ยว/กลุ่ม โดยให้ทำการออกแบบงานวิจัย เขียนโครงการเพื่อตอบโจทย์งานวิจัยที่กำหนดให้
4.ส่งเสริมให้นักศึกษาพึ่งตนเองได้ โดยให้นักศึกษาได้มีโอกาสลงมือทำงานวิจัยด้วยตนเองเริ่มตั้งแต่ค้นคว้าหาข้อมูล ตั้งสมมุติฐาน ออกแบบวิธีวิจัย วิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
 1. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงานที่ให้ค้นคว้า
2. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยวเช่น โครงการหรืองานวิจัยที่มอบหมาย
3. ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนในห้องเรียน (การทวนสอบ)
4. ประเมินจากการตอบคำถาม และการมีส่วนร่วมในการซักถามในชั้นเรียน(class participation)
5. ประเมินจากโครงการการศึกษาวิจัย / วิทยานิพนธ์
6. ประเมินจากการตีพิมพ์/นำเสนอผลงานวิจัย
PLO 3: นักศึกษาที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณในการวิจัย สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
Competency: Responsibility and Ethical sense, Adaptability and Flexibility, Diversity and Internationalization
Sub PLO 3: C1 นักศึกษาปฏิบัติตาม ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจจริตและมีความรับผิดชอบในการทำงาน
Competency: Leadership, Teamwork, Conflict management, Responsibility and Ethical sense, Planning, Adaptability and Flexibility, Diversity and Internationalization
Sub PLO 3: C2 นักศึกษาสามารถวางแผนการทำงาน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมเสร็จและส่งงานตามกำหนด
Competency: Responsibility and Ethical sense, Self-motivation, Strives for achievement
Sub PLO 3: C3 นักศึกษาดำเนินงานวิจัยและนำผลงานวิจัยของตนและผู้เขียนร่วมเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ หรือในที่ประชุมระดับชาติ/นานาชาติ โดยมีจรรยาบรรณวิจัยและวิชาชีพ ไม่คัดลอกผลงาน
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม และงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลเช่น การระดมความคิดเห็น การอภิปราย หรือการสัมมนาเกี่ยวกับประเด็นที่นักศึกษาสนใจ
2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมในระหว่างการจัดการเรียนการสอน โดยยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริง ซึ่งเน้นในเรื่องจรรยาบรรณวิจัย และวิชาชีพเป็นสำคัญ
3. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัยซึ่งจะเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา และส่งงานภายในเวลาที่กำหนด รวมทั้งยกตัวอย่างผลกระทบและความเสียหายจากการไม่ตรงเวลา
1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนขณะทำกิจกรรมกลุ่มและการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างเพื่อนร่วมงาน
2. ประเมินจากการมีวินัยในการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การทำงาน
3. ประเมินจากการที่ผู้เรียนไม่ทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากการที่ผู้เรียนไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น และมีการอ้างอิงผลงานของผู้อื่นอย่างถูกต้อง และเหมาะสม 

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

 

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
PLO 1: เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ศึกษาผลกระทบด้านลบต่อระบบนิเวศและผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของสารเคมี ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสารที่มนุษย์สร้างขึ้น สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมได้ ทั้งในประเทศและประเทศภูมิภาค โดยนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้ในแนวทางที่เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ
Competency: Understanding, Verbal communication skill, Writing skill, Applying, Analyzing
Sub PLO 1: A1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพอนามัย
Competency: Understanding, Verbal communication skill, Writing skill, Analyzing
Sub PLO 1: A2 สามารถ สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหา
Competency: Understanding, Verbal communication skill, Writing skill, Analyzing
Sub PLO 1: A3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมกับศาสตร์อื่นได้
1. การสอนที่หลากหลายรูปแบบภายในชั้นเรียนเช่นการบรรยาย การยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริง และการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย
2. การค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่มตามหัวข้อที่เป็นปัจจุบันและผู้เรียนมีความสนใจ
3. การอภิปรายเป็นกลุ่มโดยนำเนื้อหาที่เรียนมาผสมผสานกับกรณีศึกษา (case study) และเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในแต่ละรายวิชา
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
5. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
6. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพึ่งตนเองได้ มีอิสระในการแสวงหาความรู้ โดยไม่ยึดติดกับการรับข้อมูลจากผู้สอนแต่เพียงอย่างเดียว แต่กระตุ้นให้นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์และตัดสินใจด้วยตนเองโดยการนำเสนอผลงาน การตอบข้อซักถามและแสดงความคิดเห็น
7. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้นักศึกษามีโอกาสค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล พร้อมการอ้างอิงแหล่งที่น่าเชื่อถือและทันสมัย เช่นหนังสือ และวารสารวิจัยทางวิชาการและสามารถนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
8. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้สถิติเพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมในการแก้ปัญหาต่างๆ หรืองานที่ได้รับมอบหมาย 
1. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคปลายภาค และสอบย่อย
2. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงานที่ให้ค้นคว้า
3. ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนในห้องเรียน (การทวนสอบ)
4. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยวเช่น โครงการหรืองานวิจัยที่มอบหมาย
5. ประเมินจากโครงการการศึกษาวิจัย / วิทยานิพนธ์
6. ประเมินจากการตอบคำถาม และการมีส่วนร่วมในการซักถามในชั้นเรียน(class articipation) 
PLO 2: นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการทำวิจัยทางด้าน พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม
Competency: Understanding, responsibility, Verbal communication skill, Writing skill
Sub PLO 2: B1 สามารถค้นคว้า วางแผน และดำเนินงานวิจัย นำความรู้ทางด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมบูรณาการกับความรู้จากศาสตร์อื่นมาใช้ในการปฏิบัติงานวิจัยได้ด้วยตนเอง
Competency: Understanding, responsibility, Verbal communication skill, Writing skill
Sub PLO 2: B2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศในการสืบค้น เก็บรวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัย และนำเทคโนโลยีใหม่ๆ ขั้นสูง มาใช้ในการศึกษาวิจัยได้
Competency: Understanding, Applying, Analyzing, Evaluating, Creating
Sub PLO 2: B3 มีความรู้และความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับผลกระทบของสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพอนามัยซึ่งเพียงพอที่จะนำมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาแนวทาง หรือสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบดังกล่าวได้
1.จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทความทางการวิจัยด้านพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นกรณีศึกษาสำหรับวิเคราะห์ วิจารณ์จุดอ่อน/จุดแข็งของการวางแผนดำเนินงานวิจัย
2.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการ เพื่อเรียนรู้เทคนิคการทำงานวิจัยและการแก้ปัญหา
3.มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเดี่ยว/กลุ่ม โดยให้ทำการออกแบบงานวิจัย เขียนโครงการเพื่อตอบโจทย์งานวิจัยที่กำหนดให้
4.ส่งเสริมให้นักศึกษาพึ่งตนเองได้ โดยให้นักศึกษาได้มีโอกาสลงมือทำงานวิจัยด้วยตนเองเริ่มตั้งแต่ค้นคว้าหาข้อมูล ตั้งสมมุติฐาน ออกแบบวิธีวิจัย วิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
 1. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงานที่ให้ค้นคว้า
2. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยวเช่น โครงการหรืองานวิจัยที่มอบหมาย
3. ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนในห้องเรียน (การทวนสอบ)
4. ประเมินจากการตอบคำถาม และการมีส่วนร่วมในการซักถามในชั้นเรียน(class participation)
5. ประเมินจากโครงการการศึกษาวิจัย / วิทยานิพนธ์
6. ประเมินจากการตีพิมพ์/นำเสนอผลงานวิจัย
PLO 3: นักศึกษาที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณในการวิจัย สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
Competency: Responsibility and Ethical sense, Adaptability and Flexibility, Diversity and Internationalization
Sub PLO 3: C1 นักศึกษาปฏิบัติตาม ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจจริตและมีความรับผิดชอบในการทำงาน
Competency: Leadership, Teamwork, Conflict management, Responsibility and Ethical sense, Planning, Adaptability and Flexibility, Diversity and Internationalization
Sub PLO 3: C2 นักศึกษาสามารถวางแผนการทำงาน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมเสร็จและส่งงานตามกำหนด
Competency: Responsibility and Ethical sense, Self-motivation, Strives for achievement
Sub PLO 3: C3 นักศึกษาดำเนินงานวิจัยและนำผลงานวิจัยของตนและผู้เขียนร่วมเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ หรือในที่ประชุมระดับชาติ/นานาชาติ โดยมีจรรยาบรรณวิจัยและวิชาชีพ ไม่คัดลอกผลงาน
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม และงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลเช่น การระดมความคิดเห็น การอภิปราย หรือการสัมมนาเกี่ยวกับประเด็นที่นักศึกษาสนใจ
2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมในระหว่างการจัดการเรียนการสอน โดยยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริง ซึ่งเน้นในเรื่องจรรยาบรรณวิจัย และวิชาชีพเป็นสำคัญ
3. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัยซึ่งจะเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา และส่งงานภายในเวลาที่กำหนด รวมทั้งยกตัวอย่างผลกระทบและความเสียหายจากการไม่ตรงเวลา
1. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้เรียนขณะทำกิจกรรมกลุ่มและการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างเพื่อนร่วมงาน
2. ประเมินจากการมีวินัยในการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การทำงาน
3. ประเมินจากการที่ผู้เรียนไม่ทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากการที่ผู้เรียนไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น และมีการอ้างอิงผลงานของผู้อื่นอย่างถูกต้อง และเหมาะสม