Chulabhorn Graduate Institute organized a project to provide academic services to society in the form of a seminar on “The Role of Probiotics in Food Chains and Daily Life”

On Tuesday 6 September, 2022 Associate Professor Dr. Thanuttkhul Mongkholaussavarat, Assistant Rector of Chulabhorn Graduate Institute, presided over the opening of a training session on “The Role of Probiotics in Food Chains and Daily Life”organized under a project to provide academic services to society. Held at the Teleconference Room on the third floor of the Chulabhorn Graduate Institute Building during 8:30 AM-2:00 PM, the training was conducted by Associate Professor Dr. Sunee Nithisinprasert from the Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University.

About 60 people attended this academic service activity both onsite and online. The attendants included faculty members, researchers, and students of both Chulabhorn Graduate Institute and outside state-sector organizations. The purpose of the training session was to provide attendants with knowledge on microbes, which contribute to the maintenance of the balance of the overall systems of the human body. The attendants could use the knowledge provided to change their eating habits in daily life. Moreover, such knowledge would also enhance awareness of microorganisms that induce the types of diseases which are beneficial to the human body in the food chains.

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ จัดโครงการให้บริการวิชาการแก่สังคม ภายใต้กิจกรรมสัมมนา เรื่อง “บทบาทของโพรไบโอติกส์ในห่วงโซ่อาหารและชีวิตประจำวัน”

เมื่อวันอังคาร ที่ 6 กันยายน 2565 เวลา 08.30 – 14.00 น. รองศาสตราจารย์ ดร.ธณัฏฐ์คุณ มงคลอัศวรัตน์ ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ภายใต้กิจกรรมสัมมนา เรื่อง “บทบาทของโพรไบโอติกส์ในห่วงโซ่อาหารและชีวิตประจำวัน” ณ ห้องTeleconference ชั้น 3 อาคารสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ อาจารย์ประจำคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวิทยากรให้การบรรยาย

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมดังกล่าว มีผู้เข้าร่วมการสัมมนาทั้ง Onsite และ Online รวมทั้งสิ้นประมาณ 60 คน ประกอบด้วยคณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา ทั้งจากหน่วยงานภายในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และหน่วยงานรัฐภายนอก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับองค์ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่มีชีวิต ซึ่งจะช่วยให้เกิดความสมดุลย์ทั้งระบบของร่างกาย สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารในชีวิตประจำวันนอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างความตระหนักในเรื่องจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคประเภทที่มีประโยชน์ต่อร่างกายในห่วงโซ่อาหารอีกด้วย