รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี 2565

 

1. อัตรากำลังของสถาบัน

 

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สถาบันมี บุคลากรรวมทั้งสิ้น 77 คน ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการตามข้อตกลงความร่วมมือในการยืมตัว นักวิจัยจาก CRI มาปฏิบัติงานบางเวลาหรือประจำ ในตำแหน่งผู้บริหาร จำนวน 3 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 27 คน และบุคลากรสนับสนุนฯ จำนวน 47 คน นอกจากนี้ มีอาจารย์พิเศษชาวไทย จำนวน 61 คน และอาจารย์พิเศษชาวต่างประเทศ จำนวน 30 คน

 









 

2. การได้มาซึ่งกำลังคน และการทดแทนกำลังคน

 

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้จัดทำกรอบอัตรากำลังซึ่งเป็นแผนในการรับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสถาบันฯ โดยในปี 2565 สถาบันฯ ได้เปิดรับสมัครบุคลากร และมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ามาปฏิบัติในสถาบันฯ ดังนี้

 

ตำแหน่ง แผนการรับ จำนวนผู้สมัคร ผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้ผ่านการคัดเลือก
สายวิชาการ        
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ 5 อัตรา 2 คน 1 คน 0 คน
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์เคมี 2 อัตรา 21 คน 0 คน 0 คน
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม 6 อัตรา 7 คน 0 คน 0 คน
ตำแหน่งนักวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ 2 อัตรา 2 คน 1 คน 1 คน
ตำแหน่งนักวิจัยประจำสาขาวิทยาศาสตร์เคมี 2 อัตรา 3 คน 3 คน 2 คน
ตำแหน่งนักวิจัยประจำสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม 2 อัตรา 5 คน 3 คน 1 คน
สายสนับสนุน        
ตำแหน่งพนักงานปฏิบัติการ 1 อัตรา 19 คน 6 คน 2 คน
ตำแหน่งนิติกร 1 อัตรา 43 คน 19 คน 2 คน
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่โสตทัศนูปกรณ์ 1 อัตรา 11 คน 7 คน 3 คน

 

สถาบันฯ ได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหากำลังคนที่ขาดแคลน โดยในบางตำแหน่งได้จัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการ เช่น งานทำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบำรุงรักษาสวน งานป้องกันและกำจัดปลวก หนู แมลง เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ลดการสรรหาบุคลากร และเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเป็นอย่างดี

 

3. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

 

สถาบันฯ เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของสถาบันฯ ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้มีโอกาสได้เพิ่มพูนทักษะ การเสริมสร้างขีดความสามารถในทำงาน สร้างแรงจูงใจ เพื่อนำความรู้ความสามารถที่ได้รับมาพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของตนเอง โดยมีจิตใจมุ่งมั่นในการเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีขึ้น จนนำไปสู่ความสำเร็จแห่งการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ในปี 2565 สถาบันฯ ได้กำหนดสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้

 

โครงการที่จัด จัดอบรมภายในสถาบัน จัดอบรมภายนอก
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน    
สาขา ABS 2 ครั้ง 2 ครั้ง
สาขา ET 2 ครั้ง 3 ครั้ง
สาขา CS 2 ครั้ง 10 ครั้ง

 

โครงการที่จัด จำนวนผลงาน
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ(ผลงานวิจัยคณาจารย์ 3 สาขา)  
สาขา ABS 17 ผลงาน
สาขา ET 4 ผลงาน
สาขา CS 44 ผลงาน

 

โครงการที่จัด ผู้ได้รับตำแหน่งวิชาการ
โครงการสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ  
สาขาวิทยาศาสตร์เคมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชากร เอื้อติวงศ์

 

โครงการที่จัด จำนวนครั้งที่เข้าอบรมภายในหรือภายนอกสถาบันฯ
โครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน  
งานบริหารทั่วไป 19 ครั้ง
งานส่งเสริมวิชาการ 10 ครั้ง
ศูนย์การเรียนรู้ 5 ครั้ง
งานสนับสนุนสาขา 2 ครั้ง

 

โครงการที่จัด จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม
โครงการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม  
กิจกรรมไหว้ครู 50 คน
กิจกรรมถวายผ้าป่าสามัคคีออนไลน์ 55 คน
กิจกรรมวันสงกรานต์ 100 คน
กิจกรรมถวายเทียนพรรษา 70 คน

 

4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

 

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จ การประเมินนี้เป็นวิธีการวัดผลทางการปฎิบัติงานของบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จ สถาบันฯ มีหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติตามประกาศราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประจำปี 2565 สถาบันฯ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้

 

4.1 บุคลากรที่มีสิทธิ์ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

 


capture31.png

 

4.2 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ดังนี้

 


capture29.png

capture30.png

 

สัดส่วนของระดับผลงาน

 

บุคลากรจะได้รับการพิจารณาปรับเงินเดือน แตกต่างกันไปตามระดับผลงานโดยมีสัดส่วนของระดับผลงาน ดังนี้

 


capture32.png

 

5. การธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ

 

บทบาทของผู้บริหารที่จะต้องทำ เพื่อให้บุคลากรที่ดีมีคุณภาพได้อยู่ทำคุณประโยชน์ให้แก่องค์กรได้นานเท่าที่จะนานได้ เพราะหากไม่รักษาคนดีมีความสามารถเอาไว้ องค์การย่อมจะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองเติบโตไปได้ยาก การธำรงรักษาบุคลากรเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร มิใช่เป็นงานของฝ่ายบุคคลโดยลำพัง การธำรงรักษาบุคลากรจะช่วยให้เกิดการเพิ่มผลผลิตได้ในที่สุด ดังนั้น สถาบันฯ จึงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น เพื่อให้บุคลากรอยู่กับองค์การอย่างมีคุณค่าและมีแผนพัฒนาความก้าวหน้าในงานอาชีพของผู้ซึ่งมีศักยภาพสูง บุคลากรก็จะมีความรักองค์การและรักงานที่ทำ ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจทำงานเต็มความสามารถ ผลิตผลงานที่ดีออกมา ฝ่ายบริหารก็จะต้องดูแลให้ความเป็นธรรมและยอมรับในผลงานของผู้ปฏิบัติงานงานดี ซึ่งสถาบันฯ มีวิธีธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ดังนี้

 


capture32.png

 

 
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี 2564

 

1. อัตรากำลังของสถาบัน

 

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 สถาบันมี บุคลากรรวมทั้งสิ้น 76 คน ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการตามข้อตกลงความร่วมมือในการยืมตัว นักวิจัยจาก CRI มาปฏิบัติงานบางเวลาหรือประจำ ในตำแหน่งผู้บริหาร จำนวน 3 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 25 คน และบุคลากรสนับสนุนฯ จำนวน 48 คน นอกจากนี้ มีอาจารย์พิเศษชาวไทย จำนวน 43 คน และอาจารย์พิเศษชาวต่างประเทศ จำนวน 18 คน

 


บุคลากร.jpg

อาจารย์65.jpg

ไทยพิเศษ65.jpg

ต่างชาติพิเศษ65.jpg

 

2. การได้มาซึ่งกำลังคน และการทดแทนกำลังคน

 

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้จัดทำกรอบอัตรากำลังซึ่งเป็นแผนในการรับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสถาบันฯ โดยในปี 2564 สถาบันฯ ได้เปิดรับสมัครบุคลากร และมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ามาปฏิบัติในสถาบันฯ ดังนี้

 

ตำแหน่ง แผนการรับ จำนวนผู้สมัคร ผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้ผ่านการคัดเลือก
สายวิชาการ        
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ 6 อัตรา 14 คน 3 คน 1 คน
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์เคมี 2 อัตรา 12 คน 0 คน 0 คน
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม 6 อัตรา 3 คน 0 คน 0 คน
สายสนับสนุน        
ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1 อัตรา 16 คน 7 คน 2 คน
ตำแหน่งพนักงานขับรถ 2 อัตรา 5 คน 1 คน 2 คน
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป(ประสานงานวิจัย) 1 อัตรา 33 คน 10 คน 2 คน
ตำแหน่งพนักงานปฏิบัติการ 1 อัตรา 18 คน 8 คน 2 คน

 

สถาบันฯ ได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหากำลังคนที่ขาดแคลน โดยในบางตำแหน่งได้จัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการ เช่น งานทำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบำรุงรักษาสวน งานป้องกันและกำจัดปลวก หนู แมลง เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ลดการสรรหาบุคลากร และเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเป็นอย่างดี

 

3. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

 

สถาบันฯ เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของสถาบันฯ ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้มีโอกาสได้เพิ่มพูนทักษะ การเสริมสร้างขีดความสามารถในทำงาน สร้างแรงจูงใจ เพื่อนำความรู้ความสามารถที่ได้รับมาพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของตนเอง โดยมีจิตใจมุ่งมั่นในการเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีขึ้น จนนำไปสู่ความสำเร็จแห่งการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ในปี 2564 สถาบันฯ ได้กำหนดสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้

 

โครงการที่จัด จัดอบรมภายในสถาบัน จัดอบรมภายนอก
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน    
สาขา ABS 2 ครั้ง 3 ครั้ง
สาขา ET 2 ครั้ง 2 ครั้ง
สาขา CS 3 ครั้ง 8 ครั้ง

 

โครงการที่จัด จำนวนผลงาน
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ(ผลงานวิจัยคณาจารย์ 3 สาขา)  
สาขา ABS 20 ผลงาน
สาขา ET 14 ผลงาน
สาขา CS 30 ผลงาน

 

โครงการที่จัด ผู้ได้รับตำแหน่งวิชาการ
โครงการสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ  
สาขาวิทยาศาสตร์เคมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถาปนวัฒน์ สิทธิหาญ

 

โครงการที่จัด จำนวนครั้งที่เข้าอบรมภายในหรือภายนอกสถาบันฯ
โครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน  
งานบริหารทั่วไป 48 ครั้ง
งานส่งเสริมวิชาการ 40 ครั้ง
ศูนย์การเรียนรู้ 11 ครั้ง
งานสนับสนุนสาขา 10 ครั้ง

 

โครงการที่จัด จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม
โครงการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม  
กิจกรรมการลงนามถวายพระพรในวโรกาสต่างๆ 30 คน
กิจกรรมCGI รวมพลังสร้างความสามัคคี 55 คน
กิจกรรมวันสงกรานต์ 80 คน
กิจกรรมถวายเทียนพรรษา 80 คน
กิจกรรมลอยกระทง 114 คน
กิจกรรมสัปดาห์สามัคคี 40 คน

 

4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

 

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จ การประเมินนี้เป็นวิธีการวัดผลทางการปฎิบัติงานของบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จ สถาบันฯ มีหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติตามประกาศราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประจำปี 2564 สถาบันฯ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้

 

4.1 บุคลากรที่มีสิทธิ์ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

 


capture31.png

 

4.2 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ดังนี้

 


capture29.png

capture30.png

 

สัดส่วนของระดับผลงาน

 


capture32.png

 

5. การธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ

 

บทบาทของผู้บริหารที่จะต้องทำ เพื่อให้บุคลากรที่ดีมีคุณภาพได้อยู่ทำคุณประโยชน์ให้แก่องค์กรได้นานเท่าที่จะนานได้ เพราะหากไม่รักษาคนดีมีความสามารถเอาไว้ องค์การย่อมจะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองเติบโตไปได้ยาก การธำรงรักษาบุคลากรเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร มิใช่เป็นงานของฝ่ายบุคคลโดยลำพัง การธำรงรักษาบุคลากรจะช่วยให้เกิดการเพิ่มผลผลิตได้ในที่สุด ดังนั้น สถาบันฯ จึงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น เพื่อให้บุคลากรอยู่กับองค์การอย่างมีคุณค่าและมีแผนพัฒนาความก้าวหน้าในงานอาชีพของผู้ซึ่งมีศักยภาพสูง บุคลากรก็จะมีความรักองค์การและรักงานที่ทำ ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจทำงานเต็มความสามารถ ผลิตผลงานที่ดีออกมา ฝ่ายบริหารก็จะต้องดูแลให้ความเป็นธรรมและยอมรับในผลงานของผู้ปฏิบัติงานงานดี ซึ่งสถาบันฯ มีวิธีธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ดังนี้

 


capture32.png

 

รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี 2563

 

1. อัตรากำลังของสถาบัน

 

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 สถาบันมี บุคลากรรวมทั้งสิ้น 76 คน ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการตามข้อตกลงความร่วมมือในการยืมตัว นักวิจัยจาก CRI มาปฏิบัติงานบางเวลาหรือประจำ ในตำแหน่งผู้บริหาร จำนวน 3 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 28 คน และบุคลากรสนับสนุนฯ จำนวน 51 คน นอกจากนี้ มีอาจารย์พิเศษชาวไทย จำนวน 43 คน และอาจารย์พิเศษชาวต่างประเทศ จำนวน 18 คน

 


2. การได้มาซึ่งกำลังคน และการทดแทนกำลังคน

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้จัดทำกรอบอัตรากำลังซึ่งเป็นแผนในการรับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสถาบันฯ โดยใป 2563 สถาบันฯ ได้เปิดรับสมัครบุคลากร และมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ามาปฏิบัติในสถาบันฯ ดังนี้

 

ตำแหน่ง แผนการรับ จำนวนผู้สมัคร ผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้ผ่านการคัดเลือก
สายสนับสนุน        
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(สังกัดศูนย์วิจัยฯ) 1 อัตรา 29 คน 13 คน 2 คน
ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ 1 อัตรา 1 คน 1 คน 1 คน
ตำแหน่งนักวิชาการศึกษา 1 อัตรา 24 คน 14 คน 3 คน
ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน 1 อัตรา 12 คน 2 คน 0 คน
ตำแหน่งนิติกร 1 อัตรา 36 คน 8 คน 2 คน
ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน 1 อัตรา 28 คน 7 คน 3 คน
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(สังกันงานบริหารทั่วไป) 1 อัตรา 29 คน 7 คน 2 คน
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(สังกัดศูนย์วิจัยฯ) 1 อัตรา 33 คน 12 คน 1 คน

 

สถาบันฯ ได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหากำลังคนที่ขาดแคลน โดยในบางตำแหน่งได้จัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการ เช่น งานทำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบำรุงรักษาสวน งานป้องกันและกำจัดปลวก หนู แมลง เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ลดการสรรหาบุคลากร และเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเป็นอย่างดี

 

3. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

 

สถาบันฯ เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของสถาบันฯ ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้มีโอกาสได้เพิ่มพูนทักษะ การเสริมสร้างขีดความสามารถในทำงาน สร้างแรงจูงใจ เพื่อนำความรู้ความสามารถที่ได้รับมาพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของตนเอง โดยมีจิตใจมุ่งมั่นในการเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีขึ้น จนนำไปสู่ความสำเร็จแห่งการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ในปี 2562 สถาบันฯ ได้กำหนดสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้

 

โครงการที่จัด จัดอบรมภายในสถาบัน จัดอบรมภายนอก
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน    
สาขา ABS 3 ครั้ง 2 ครั้ง
สาขา ET 4 ครั้ง 8 ครั้ง
สาขา CS 11 ครั้ง 6 ครั้ง

 

โครงการที่จัด จำนวนผลงาน
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ(ผลงานวิจัยคณาจารย์ 3 สาขา)  
สาขา ABS 16 ผลงาน
สาขา ET 1 ผลงาน
สาขา CS 9 ผลงาน

 

โครงการที่จัด ผู้ได้รับตำแหน่งวิชาการ
โครงการสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ  
สาขาวิทยาศาสตร์เคมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท กิตตะคุปต์

 

โครงการที่จัด จำนวนครั้งที่เข้าอบรมภายในหรือภายนอกสถาบันฯ
โครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน  
งานบริหารทั่วไป 29 ครั้ง
งานส่งเสริมวิชาการ 22 ครั้ง
ศูนย์การเรียนรู้ 20 ครั้ง
งานสนับสนุนสาขา 11 ครั้ง
ศูนย์วิจัยพัฒนาฯ 4 ครั้ง

 

โครงการที่จัด จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม
โครงการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม  
กิจกรรมวันมาฆบูชา 94 คน
กิจกรรมวันวิสาขบูชา 70 คน
กิจกรรมวันสงกรานต์ 80 คน
กิจกรรมถวายเทียนพรรษา 70 คน
กิจกรรมลอยกระทง 200 คน
กิจกรรมไหว้ครู 80 คน

 

4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

 

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จ การประเมินนี้เป็นวิธีการวัดผลทางการปฎิบัติงานของบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จ สถาบันฯ มีหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติตามประกาศราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประจำปี 2562 สถาบันฯ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้

 

4.1 บุคลากรที่มีสิทธิ์ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

 


capture31.png

 

4.2 เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ดังนี้

 


capture29.png

capture30.png

 

สัดส่วนของระดับผลงาน
 

capture32.png

 

5. การธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ

 

บทบาทของผู้บริหารที่จะต้องทำ เพื่อให้บุคลากรที่ดีมีคุณภาพได้อยู่ทำคุณประโยชน์ให้แก่องค์กรได้นานเท่าที่จะนานได้ เพราะหากไม่รักษาคนดีมีความสามารถเอาไว้ องค์การย่อมจะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองเติบโตไปได้ยาก การธำรงรักษาบุคลากรเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร มิใช่เป็นงานของฝ่ายบุคคลโดยลำพัง การธำรงรักษาบุคลากรจะช่วยให้เกิดการเพิ่มผลผลิตได้ในที่สุด ดังนั้น สถาบันฯ จึงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น เพื่อให้บุคลากรอยู่กับองค์การอย่างมีคุณค่าและมีแผนพัฒนาความก้าวหน้าในงานอาชีพของผู้ซึ่งมีศักยภาพสูง บุคลากรก็จะมีความรักองค์การและรักงานที่ทำ ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจทำงานเต็มความสามารถ ผลิตผลงานที่ดีออกมา ฝ่ายบริหารก็จะต้องดูแลให้ความเป็นธรรมและยอมรับในผลงานของผู้ปฏิบัติงานงานดี ซึ่งสถาบันฯ มีวิธีธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ดังนี้

 


capture32.png