การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี

การประเมินความเสี่ยงของการดำเนินงานของสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2566

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน โดยได้นำระบบบริหารจัดการความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารจัดการในงานทุกๆด้าน เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงาน เป็นต้น การจัดทำระบบบริหารความเสี่ยงเพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่สถาบันฯ จะเกิดความเสียหายให้มีระดับความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายในทุกด้านของสถาบันฯ เป็นสำคัญ สถาบันฯ ได้กำหนดกรอบประเด็นความเสี่ยงไว้ 7 ด้าน ดังนี้
  • 1) ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที)
  • 2) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ
  • 3) ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก
สถาบันฯ ได้กำหนดเกณฑ์การพิจารณาโอกาสเกิดปัจจัยเสี่ยง 5 ระดับ และเกณฑ์การประเมินความเสียหายหรือผลกระทบ ซึ่งจะประเมินเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงินก็ได้ ตามเกณฑ์ใน ข้อ 3 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) พร้อมพิจารณามาตรการที่จะจัดการความเสี่ยงใน 4 วิธี คือ การหยุดความเสี่ยง (Terminate) การควบคุมความเสี่ยง (Treat) การยอมรับความเสี่ยง (Take) และการถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) ซึ่งแสดงรายละเอียดไว้ในแผนบริหารความเสี่ยง

แผนบริหารความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ 2566

การประเมินความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ 2566

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2565

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน โดยได้นำระบบบริหารจัดการความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารจัดการในงานทุกๆด้าน เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงาน เป็นต้น การจัดทำระบบบริหารความเสี่ยงเพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่สถาบันฯ จะเกิดความเสียหายให้มีระดับความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายในทุกด้านของสถาบันฯ เป็นสำคัญ สถาบันฯ ได้กำหนดกรอบประเด็นความเสี่ยงไว้ 7 ด้าน ดังนี้
  • 1) ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที)
  • 2) ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของสถาบัน
  • 3) ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
  • 4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ
  • 5) ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร (การทุจริต)
  • 6) ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก
  • 7) อื่นๆ
สถาบันฯ ได้กำหนดเกณฑ์การพิจารณาโอกาสเกิดปัจจัยเสี่ยง 5 ระดับ และเกณฑ์การประเมินความเสียหายหรือผลกระทบ ซึ่งจะประเมินเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงินก็ได้ ตามเกณฑ์ใน ข้อ 3 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) พร้อมพิจารณามาตรการที่จะจัดการความเสี่ยงใน 4 วิธี คือ การหยุดความเสี่ยง (Terminate) การควบคุมความเสี่ยง (Treat) การยอมรับความเสี่ยง (Take) และการถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) ซึ่งแสดงรายละเอียดไว้ในแผนบริหารความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2564

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน โดยได้นำระบบบริหารจัดการความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารจัดการในงานทุกๆด้าน เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงาน เป็นต้น การจัดทำระบบบริหารความเสี่ยงเพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่สถาบันฯ จะเกิดความเสียหายให้มีระดับความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายในทุกด้านของสถาบันฯ เป็นสำคัญ สถาบันฯ ได้กำหนดกรอบประเด็นความเสี่ยงไว้ 7 ด้าน ดังนี้
  • 1) ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที)
  • 2) ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของสถาบัน
  • 3) ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
  • 4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ
  • 5) ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร (การทุจริต)
  • 6) ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก
  • 7) อื่นๆ
สถาบันฯ ได้กำหนดเกณฑ์การพิจารณาโอกาสเกิดปัจจัยเสี่ยง 5 ระดับ และเกณฑ์การประเมินความเสียหายหรือผลกระทบ ซึ่งจะประเมินเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงินก็ได้ ตามเกณฑ์ใน ข้อ 3 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) พร้อมพิจารณามาตรการที่จะจัดการความเสี่ยงใน 4 วิธี คือ การหยุดความเสี่ยง (Terminate) การควบคุมความเสี่ยง (Treat) การยอมรับความเสี่ยง (Take) และการถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) ซึ่งแสดงรายละเอียดไว้ในแผนบริหารความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2563

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน โดยได้นำระบบบริหารจัดการความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารจัดการในงานทุกๆด้าน เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงาน เป็นต้น การจัดทำระบบบริหารความเสี่ยงเพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่สถาบันฯ จะเกิดความเสียหายให้มีระดับความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายในทุกด้านของสถาบันฯ เป็นสำคัญ สถาบันฯ ได้กำหนดกรอบประเด็นความเสี่ยงไว้ 7 ด้าน ดังนี้
  • 1) ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที)
  • 2) ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของสถาบัน
  • 3) ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
  • 4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ
  • 5) ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร (การทุจริต)
  • 6) ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก
  • 7) อื่นๆ
สถาบันฯ ได้กำหนดเกณฑ์การพิจารณาโอกาสเกิดปัจจัยเสี่ยง 5 ระดับ และเกณฑ์การประเมินความเสียหายหรือผลกระทบ ซึ่งจะประเมินเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงินก็ได้ ตามเกณฑ์ใน ข้อ 3 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) พร้อมพิจารณามาตรการที่จะจัดการความเสี่ยงใน 4 วิธี คือ การหยุดความเสี่ยง (Terminate) การควบคุมความเสี่ยง (Treat) การยอมรับความเสี่ยง (Take) และการถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) ซึ่งแสดงรายละเอียดไว้ในแผนบริหารความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2562

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน โดยได้นำระบบบริหารจัดการความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารจัดการในงานทุกๆด้าน เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงาน เป็นต้น การจัดทำระบบบริหารความเสี่ยงเพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่สถาบันฯ จะเกิดความเสียหายให้มีระดับความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายในทุกด้านของสถาบันฯ เป็นสำคัญ สถาบันฯ ได้กำหนดกรอบประเด็นความเสี่ยงไว้ 7 ด้าน ดังนี้
  • 1) ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที)
  • 2) ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของสถาบัน
  • 3) ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
  • 4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ
  • 5) ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร (การทุจริต)
  • 6) ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก
  • 7) อื่นๆ
สถาบันฯ ได้กำหนดเกณฑ์การพิจารณาโอกาสเกิดปัจจัยเสี่ยง 5 ระดับ และเกณฑ์การประเมินความเสียหายหรือผลกระทบ ซึ่งจะประเมินเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัวเงินก็ได้ ตามเกณฑ์ใน ข้อ 3 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) พร้อมพิจารณามาตรการที่จะจัดการความเสี่ยงใน 4 วิธี คือ การหยุดความเสี่ยง (Terminate) การควบคุมความเสี่ยง (Treat) การยอมรับความเสี่ยง (Take) และการถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) ซึ่งแสดงรายละเอียดไว้ในแผนบริหารความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561